The 50 ปี อาเซียน Diaries

มีชาวออสเตรเลียมากกว่าหนึ่งล้านคนที่มีเชื้อสายมาจากประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียเองก็เป็นชาติพหุวัฒนธรรมที่ผู้คนกว่าครึ่งเกิดในต่างประเทศหรือมีพ่อแม่ที่เกิดในต่างประเทศ

ติดต่อเรา

จีนกลายเป็นประเทศที่ประสบความสำเร็จทางเศรษฐกิจอย่างมากและกำลังสร้างแสนยานุภาพทางทหารอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งสหรัฐฯ รู้สึกว่าจีนกำลังจะกลายเป็นภัยคุกคามความยิ่งใหญ่ของตัวเองหนักข้อขึ้นทุกวัน ในขณะที่จีนก็มองว่าสหรัฐฯ กำลังทำทุกวิถีทางเพื่อขัดขวางความเติบโตก้าวหน้าของจีน

เนื่องจากผลิตภาพแรงงานมีความสำคัญต่อการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ช่องว่างผลิตภาพแรงงานของอาเซียนดังกล่าวแสดงว่า อาเซียนยังมีช่องทางและโอกาสที่จะปรับปรุงในเรื่องนี้ เช่น การลงทุนด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และการนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ เป็นต้น

การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกอย่างเป็นทางการ

'เอกนัฏ' มอบนโยบายเข้มบังคับใช้กฎหมาย คุมสินค้าต่างชาติไม่ได้มาตรฐานทะลักไทย

อาเซียนปรับตัวเพื่อให้ได้ประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัฒน์ไม่น้อย ยอมรับประเทศที่เคยเป็นศัตรูคู่อาฆาตอย่างเวียดนาม ลาว และประเทศที่มีปัญหาในประเทศมากมาย เช่น พม่าและกัมพูชาเข้ามาเป็นสมาชิก ละทิ้งความขัดแย้งและแตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองอย่างสิ้นเชิง เปิดเสรีทางเศรษฐกิจเข้าหากันมากขึ้น แม้นักวิเคราะห์จำนวนหนึ่งไม่ยอมรับว่านั่นเป็นการผนึกประสานในความหมายที่แท้จริงก็ตาม แต่ก็ปรากฎว่ากลุ่มอาเซียนเชื่อมโยงกันมากขึ้น ทั้งในทางเศรษฐกิจและกายภาพ

อาเซียนครบรอบ ๕๐ ปี : ตามติดวิวัฒนาการด้วยสถิติ

โดยทุกคนหวังว่าจะได้เห็นบรรยากาศ “สนามแตก” ที่นี่…อีกคำรบ เหมือนที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต

เป็นการประชุมประจำปีระหว่างผู้นำของประเทศกลุ่มอาเซียนร่วมกับประธานาธิบดีของสหพันธรัฐรัสเซีย

วาติคิโอติสเห็นว่า อาเซียนแสดงความเป็นฝักเป็นใฝ่ออกมาโดยชัดแจ้ง ระหว่างฝ่ายที่โน้มเอียงไปหาสหรัฐฯ 50 ปี อาเซียน กับฝ่ายที่โน้มเอียงไปหาจีน จารีตเรื่องฉันทามติถูกละเมิดและท้าทายครั้งแล้วครั้งเล่า

ถึงตรงนี้หลายคนอาจจะมีคำถาม...จะรู้ได้ยังไงว่าสัมพันธ์อาเซียนหรือเออีซีดีขึ้น มองเพียงแค่การส่งออกค้าๆขายๆแนวชายแดนดีขึ้นแค่นั้นได้ไหม บุณยฤทธิ์ บอกว่า ต้องมองมากกว่านั้น อาเซียนไม่ได้เกี่ยวพันกันแค่เรื่องเศรษฐกิจอย่างเดียว ยังเกี่ยวโยงไปถึงเสาหลักการเมือง.

มองอนาคต เครื่องบิน รถไฟ และรถขุดมหึมา พวกเขาจะผลักดันขีดจํากัดของพลังงานไฟฟ้าได้อย่างไร

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิติ ศรีแสงนาม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *